THE GREATEST GUIDE TO ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

The Greatest Guide To ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

The Greatest Guide To ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

Blog Article

กล่าวโดยสรุป ผู้เขียนพบว่าปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาของไทย โดยส่วนใหญ่แล้ว จะเป็นปัญหาที่มาจากปัจจัยที่สามารถปรับเปลี่ยนแก้ไขได้ (เช่น การขยายขนาดโรงเรียน การเพิ่มจำนวนครู การให้ความรู้แก่บิดามารดา) มากกว่าที่จะมาจากปัจจัยที่คงที่ ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ (เช่น ความฉลาดทางสติปัญญา) ดังนั้น หากภาครัฐมีการกำหนดเป้าหมายและวิธีการที่เหมาะสม ย่อมสามารถที่จะบรรเทาปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาของไทยให้ลดลงได้

นิพนธ์ พัวพงศกร รำลึกถึง ม.ร.ว.อคิน รพีพัฒน์ นักสังคมวิทยา-มานุษยวิทยาคนสำคัญของไทย ผ่านบทเรียนภาคสนามจากการลงพื้นที่เก็บข้อมูลงานวิจัย

ปัญหาความไม่เท่าเทียมกันทางการศึกษา ส่งผลให้คุณภาพการเรียนการสอนไม่เท่ากันในแต่ละพื้นที่ สถานศึกษาบางแห่งไม่ได้พัฒนาหลักสูตรให้ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงาน จึงทำให้องค์กรหลากหลายแห่งขาดแคลนแรงงานฝีมือคุณภาพ หรือต้องลงทุนไปกับทรัพยากรเพิ่มเติมเพื่อพัฒนาพนักงานด้วยตนเอง 

เมื่อเวลาเปลี่ยนบทบาทหน้าที่ก็เปลี่ยนไป บริบทของคนในพื้นที่ที่เคยเป็นแนวร่วมคอมมิวนิสต์ได้เปลี่ยนเป็นนักพัฒนาเปลี่ยนพื้นที่ให้มีความมั่นคงเข้มแข็ง และบทบาทหน้าที่ของ ตชด. ก็ปรับเปลี่ยนไปตามกาลเวลาเช่นกัน แต่มือก็ยังถือชอล์กเขียนกระดานดำ และยกระดับเป็นครูตชด.นักพัฒนาที่สร้างความเข้มแข็งในพื้นที่อย่างยั่งยืน ด้วยความรู้ ทักษะวิชาชีพเพื่อการพัฒนาประชาชนในพื้นที่อย่างรอบด้าน  แต่มีปัญหาที่รอการแก้ไขหนึ่งเรื่องสำคัญคือ ความรู้การสอนของครู ตชด.

ความเคลื่อนไหว จดหมายข่าวถึงเพื่อนภาคี

บุคลากรในโรงเรียนบางแห่งไม่สามารถจัดสรรเวลาไปเยี่ยมบ้านนักเรียนยากจน หรือเลือกใช้วิธีสอบถามจากนักเรียนแทน เพื่อให้กรอกรายละเอียดเสร็จทันตามกำหนด ข้อมูลที่ได้จึงไม่สอดคล้องกับความเป็นจริง

ตชด. ที่ทำหน้าที่เป็นนักพัฒนาชุมชน ทำให้โรงเรียนเป็นศูนย์กลางของความร่วมมือ และสร้างความยั่งยืนให้กับชุมชนในพื้นที่และใกล้เคียง  

ผลลัพธ์คือเงื่อนไขด้านสภาพที่อยู่อาศัยสามารถคัดกรองนักเรียนยากจนได้มากที่สุดดังคาด แต่การเก็บข้อมูลดังกล่าว จำเป็นต้องถ่ายภาพประกอบ จึงเกิดปัญหาเรื่องการเดินทางไปเยี่ยมบ้านนักเรียน โดยเฉพาะในพื้นที่ห่างไกลหรือบนเขาบนดอยนั้นมีความยากลำบาก และน่ากังวลเรื่องความปลอดภัยของครู อีกทั้งบางกรณี สภาพบ้านอาจไม่สามารถสะท้อนความยากจนของตัวนักเรียนได้ เพราะมีนักเรียนบางกลุ่มอาศัยกับญาติที่มีบ้านหลังใหญ่โต หรือมีปัจจัยด้านวัฒนธรรมอย่างชนเผ่าม้งที่นิยมสร้างบ้านด้วยไม้ไผ่และวัสดุธรรมชาติ ทำให้แม้สอดคล้องกับเงื่อนไข แต่ไม่ได้มีสถานะยากจนจริง

The cookie is ready with the GDPR Cookie Consent plugin and is accustomed ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา to shop if consumer has consented to using cookies. It doesn't store any particular information.

ข้อเสนอนโยบายฟื้นฟูระบบการศีกษาไทยอย่างเสมอภาคและยั่งยืน : กสศ.

มูลนิธิบ้านเด็กบุญทอง เป็นมูลนิธิที่ช่วยเหลือเด็กกำพร้า และเด็กที่ด้อยโอกาส ในการสนับสนุนให้ได้รับการศึกษาจากโรงเรียนที่ไม่เสียค่าใช้จ่าย และช่วยสนับสนุนอุปกรณ์การเรียนที่จำเป็นต่อการศึกษา

โจทย์ที่ต้องคิด เรื่องโรงเรียนขนาดเล็ก

สืบเนื่องมาจากปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ตลอดจนการขาดแคลนแรงงานฝีมือที่มีคุณภาพ ทำให้การพัฒนาเศรษฐกิจ และประเทศชาติต้องสะดุด หรือหยุดชะงักไป เนื่องจากตลาดแรงงานไม่สามารถตอบสนองความต้องการในการพัฒนาธุรกิจ และเศรษฐกิจภายในประเทศได้ 

มุ่งสู่ระบบการศึกษาที่เสมอภาค และไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง

Report this page